ข้อมูลทั่วไป
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
17 พฤศจิกายน 2565

0


1. ด้านกายภาพ
2. ด้านการเมือง/การปกครอง
3. ประชากร
4. สภาพทางสังคม
5. ระบบบริการพื้นฐาน
6. ระบบเศรษฐกิจ
7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
8. ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ด้านกายภาพ
17 พฤศจิกายน 2565

0


1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล
        องค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอพระแสง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านไสนา ตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี อยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอพระแสง ห่างจากอำเภอพระแสง ประมาณ 2 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประมาณ 96 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน มีพื้นที่โดยประมาณ 77.80 ตารางกิโลเมตร
         องค์การบริหารส่วนตำบลอิปันมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
               ทิศเหนือ           จดตำบลพ่วงพรหมคร                อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
               ทิศใต้               จดตำบลสินปุน                        อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
               ทิศตะวันออก     จดตำบลทุ่งหลวง                       อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
               ทิศตะวันตก       จดตำบลไทรขึงและตำบลสาคู       อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
        สภาพภูมิประเทศของตำบลอิปัน เป็นเนินสูงและที่ราบลุ่ม ลักษณะดินเป็นดินเหนียวและดินลูกรัง สภาพพื้นที่เหมาะสำหรับปลูกยางพารา ปาล์มน้ำมัน และพืชไร่บางชนิด
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
        ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี 3 ฤดู ดังนี้
               - ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงเปลี่ยนฤดูอากาศร้อนและแห้งแล้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บางครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงสร้างความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี
               - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม - ตุลาคม แต่อาจเกิด “ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ 1 - 2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน
1.4 ลักษณะของดิน
        ลักษณะดินโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นดินเหนียว และดินลูกรัง ดินร่วนปนดินทรายแห้ง เหมาะสำหรับทำสวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน และปลูกพืชบางชนิด
2. ด้านการเมือง/การปกครอง
17 พฤศจิกายน 2565

0


2.1 เขตการปกครอง
        องค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน ประกอบด้วยจำนวนหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน
2.2 การเลือกตั้ง
        การเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน มีจำนวน 12 หมู่บ้าน
3. ประชากร
17 พฤศจิกายน 2565

0


3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร

หมูที่

หมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

จำนวนประชากร

รวม

ชาย

หญิง

1

บ้านไสนา

1,411

888

886

1,774

2

บ้านโพธิ์บาย

489

637

630

1,267

3

บ้านสายกลาง

240

368

377

745

4

บ้านปลายสาย

174

239

246

485

5

บ้านไสขรบ

436

617

627

1,244

6

บ้านควนเจริญ

199

260

290

550

7

บ้านนูน

167

245

247

492

8

บ้านบางหยด

152

250

239

489

9

บ้านบ่อพระ

386

442

510

952

10

บ้านใหม่

202

274

259

533

11

บ้านควนใหม่

164

274

258

532

12

บ้านควนนกหว้า

178

196

181

377

รวม

4,198

4,690

4,750

9,440

       ข้อมูล เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564  จากสำนักงานทะเบียนอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

       ข้อมูลจำนวนประชากรเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี (ปี 2561 - 2563)         

หมู่ที่

หมู่บ้าน

พ.ศ.2561

พ.ศ.2562

พ.ศ.2563

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

1

บ้านไสนา

1,246

1,253

1,241

1,251

1,257

1,256

2

บ้านโพธิ์บาย

605

617

618

620

625

620

3

บ้านสายกลาง

349

370

357

378

364

379

4

บ้านปลายสาย

237

253

235

253

235

253

5

บ้านไสขรบ

632

614

648

607

643

616

6

บ้านควนเจริญ

276

278

274

289

272

297

7

บ้านนูน

227

242

232

249

236

252

8

บ้านบางหยด

248

235

242

236

244

231

9

บ้านบ่อพระ

451

504

455

507

447

509

10

บ้านใหม่

265

246

265

253

266

257

11

บ้านควนใหม่

258

247

261

245

272

254

12

บ้านควนนกหว้า

194

182

198

178

195

180

รวม

4,988

5,041

5,026

5,066

5,056

5,104

รวมทั้งสิ้น

10,029

10,092

10,160

       คาดการณ์ประชากรในอนาคตของตำบลอิปันข้อมูลเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี (ปี 2561 - 2563) พบว่า

          -ประชากรชาย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

          -ประชากรหญิง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

          -สัดส่วนประชากรหญิงมากกว่าประชากรชาย

4. สภาพทางสังคม
17 พฤศจิกายน 2565

0


4.1 การศึกษา
4.1.1 โรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 แห่ง
         - โรงเรียนบ้านปลายสาย หมู่ที่ 11
         - โรงเรียนบ้านไสขรบ หมู่ที่ 5
         - โรงเรียนบ้านยูงทอง หมู่ที่ 2
         - โรงเรียนบ้านบ่อพระ หมู่ที่ 9
         - โรงเรียนบ้านบางหยด หมู่ที่ 10
4.1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง
         - โรงเรียนพระแสงวิทยา หมู่ที่ 1
4.1.3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.) 2 แห่ง
         - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยูงทอง หมู่ที่ 2
         - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสขรบ หมู่ที่ 5
4.1.4 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 1 แห่ง
          - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพระแสง หมู่ที่ 1
4.1.5 โรงเรียนอนุบาล (เอกชน) 1 แห่ง
         - โรงเรียนอนุบาลดวงใจแม่ หมู่ที่ 1
(ข้อมูลเดือนเมษายน 2557 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3)
4.2 สาธารณสุข
       - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสขรบ หมู่ที่ 5
4.3 อาชญากรรม
       - ไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้นในตำบลอิปัน มีแต่ปัญหาการลักขโมย
4.4 ยาเสพติด
       ปัญหายาเสพติดในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน จากการที่ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แจ้งจำนวนผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟูและฝึกอาชีพของผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ในแต่ละปีถือว่าน้อย เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปันที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปันสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้องค์การบริหารส่วนตำบลอิปันก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
4.5 การสังคมสังเคราะห์
      องค์การบริหารส่วนตำบลอิปันได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้
      1. ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์
      2. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
      3. ประสานการทำบัตรผู้พิการ
      4. ประสานหน่วยงานต่างๆ ในการของบประมาณให้ความช่วยเหลือผู้ยากไร้ในเขตตำบลอิปัน
5. ระบบบริการพื้นฐาน
17 พฤศจิกายน 2565

0


ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอิปันมีระบบบริการพื้นฐาน ดังนี้

5.1 เส้นทางคมนาคม
       การคมนาคมทางบก มีถนนลาดยางติดต่อระหว่างหมู่บ้าน อำเภอและจังหวัดซึ่งมีถนนทางหลวงสายหลัก 4 สาย ได้แก่
       - ทางหลวงหมายเลข 4009 ตอนพระแสง - เวียงสระ ระยะทาง ประมาณ 2 กม.
       - ทางหลวงหมายเลข 4035 ตอนพระแสง - อ่าวลึก ระยะทาง ประมาณ 2 กม.
       - ทางหลวงหมายเลข 4113 ตอนพระแสง - เคียนซา ระยะทาง ประมาณ 8 กม.
       - ทางหลวงหมายเลข 4110 ตอนพระแสง - ทุ่งใหญ่ ระยะทาง ประมาณ 2.5 กม.
       - ถนนลาดยาง มีจำนวน 22 สาย
       - ถนนหินผุ มีจำนวน 55 สาย
       - ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก มีจำนวน 36 สาย
5.2 การไฟฟ้า
       - มีไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทุกหมู่บ้านและติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ/สัญญาณไฟจราจร
5.3 การประปา
      - การประปาส่วนภูมิภาค
      - ระบบประปาหมู่บ้าน
5.4 โทรศัพท์
      - สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ 1 แห่ง ได้แก่ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย อำเภอพระแสง
      - เสาสัญญาณโทรศัพท์ ระบบทรูมูฟ
      - เสาสัญญาณโทรศัพท์ ระบบดีแทค
      - เสาสัญญาณโทรศัพท์ ระบบจีเอสเอ็ม
5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
      - Kerry Express
6. ระบบเศรษฐกิจ
17 พฤศจิกายน 2565

0


6.1 การเกษตร
      ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา หน่วยงานเกี่ยวกับเกษตรมีดังนี้
      - สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง หมู่ที่ 1
      - ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรตำบลอิปัน หมู่ที่ 1
      - สหกรณ์การเกษตรพระแสง จำกัด หมู่ที่ 1
6.2 การประมง
      - สำนักงานประมงอำเภอพระแสง
6.3 การปศุสัตว์
      - เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ เป็นต้น
6.4 การบริการ
      - โรงแรมจำเนียนอินทร์
      - พระแสงรีสอร์ท
      - บ้านในฝันรีสอร์ท
      - บริษัทลิกไนท์ทัวร์
6.5 การท่องเที่ยว
      ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอิปันไม่มีแหล่งท่องเที่ยวแต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับอนุสรณ์แทรคเตอร์พระราชทาน การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ
6.6 อุตสาหกรรม
      - โรงงานปาล์มแสงศิริ
6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
      การพาณิชย์
      ▪ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
      ▪ ธนาคารออมสิน
6.8 แรงงาน
      ประชากรที่มีอายุ 15 - 60 ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ประชากรอายุระหว่าง 25 - 50 ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ ปัญหาที่พบ คือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ ซึ่งพื้นที่ในตำบลอิปันส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัยและเป็นพื้นที่ทำเกษตรแบบครัวเรือน

 

8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
17 พฤศจิกายน 2565

0


8.1 การนับถือศาสนา
      ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
      ▪ วัด จำนวน 2 แห่ง
      - วัดไสขรบ หมู่ที่ 5
      - วัดบางหยด หมู่ที่ 10
8.2 ประเพณีและงานประจำปี
      ประเพณีที่สำคัญของท้องถิ่น เช่น ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา ประเพณีลอยกระทง และ ประเพณีเทศกาลมหาสงกรานต์ ซึ่งถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทยมาแต่โบราณ จัดขึ้นในช่วงเดือน 5 ของไทย (เดือนเมษายน) มีการจัดกิจกรรมที่สำคัญทางศาสนา เช่น การสรงน้ำพระ ก่อพระเจดีย์ทราย ประเพณีวันสารทเดือนสิบ (เดือนกันยายนถึงตุลาคม) ประเพณีชักพระ (เดือนตุลาคม) และกิจกรรมนันทนาการอื่นๆ
8.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน / ภาษาถิ่น
      ▪ ภาษาถิ่นส่วนมากร้อยละ 90 % พูดภาษาใต้
      ▪ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน มีดังนี้
         - รำมโนราห์
         - ช่างแกะสลักไม้
         - กลองยาว
8.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
      ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน ไม่ได้ผลิตสินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
9. ทรัพยากรธรรมชาติ
17 พฤศจิกายน 2565

0


9.1 น้ำ ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน น้ำดิบจากขุดลอกและแม่น้ำตาปี ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งน้ำขุ่น ไม่สามารถใช้ดื่มและอุปโภคได้
9.2 ป่าไม้ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน มีป่าไม้เฉลิมพระเกรียติ เนื้อที่ประมาณ 117 ไร่
9.3 ภูเขา ในเขตตำบลอิปันไม่มีภูเขา
9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
      ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน ส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลำดับและมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือบางพื้นที่น้ำมีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ น้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝนไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น ปัญหาด้านขยะ เมื่อชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น การแก้ไขปัญหาองค์การบริหารส่วนตำบลอิปันได้จัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน เช่น โครงการจัดหาถังขยะรองรับขยะให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ โครงการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่างๆ ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มรื่นสวยงาม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ฯลฯ
10. อื่น ๆ
17 พฤศจิกายน 2565

0


ท่านสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ ได้ที่นี่

https://www.facebook.com/nakphat.eipun

(Facebook อบต.อิปัน อำเภอพระแสง)

ข้อมูลทั่วไป
30 พฤศจิกายน 542

0


สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน
 

ที่ตั้ง          
องค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน  ตั้งอยู่ที่บ้านไสนา หมู่ที่ 1  ตำบลอิปัน  อำเภอพระแสง   จังหวัดสุราษฎร์ธานี  ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก  ของอำเภอพระแสง  ห่างจากอำเภอประมาณ  2  กิโลเมตร  ห่างจากจังหวัดประมาณ  96  กิโลเมตรห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ   965   กิโลเมตร
  -  ทิศเหนือ จดตำบลพ่วงพรมคร อำเภอเคียนซา จังหวัดสุราษฎร์ธานี  
  -  ทิศใต้ จดตำบลสินปุน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี  
  -  ทิศตะวันออก จดตำบลทุ่งหลวง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี  
  -  ทิศตะวันตก จดตำบลไทรขึงและตำบลสาคู  อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี  
เนื้อที่          
องค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน  มีพื้นที่โดยประมาณ   77.80  ตารางกิโลเมตร     
ภูมิประเทศ        
สภาพภูมิประเทศของตำบลอิปัน  เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ  และเป็นเนินสูง   ลักษณะคล้ายกับลูกคลื่นลอนสาด   สภาพพื้นที่เหมาะสำหรับปลูกยางพารา   ปาล์มน้ำมัน  และพืชไร่บางชนิด   
จำนวนหมู่บ้านมีทั้งหมด  12   หมู่บ้าน  ดังนี้       
  หมู่ที่  1    บ้านไสนา       หมู่ที่   7   บ้านนูน          
  หมู่ที่  2    บ้านโพธิ์บาย หมู่ที่   8   บ้านบางหยด   
  หมู่ที่  3    บ้านสายกลาง หมู่ที่   9   บ้านบ่อพระ   
  หมู่ที่  4    บ้านปลายสาย หมู่ที่  10  บ้านใหม่    
  หมู่ที่  5    บ้านไสขรบ             หมู่ที่  11  บ้านควนใหม่    
  หมู่ที่  6    บ้านควนเจริญ หมู่ที่  12  บ้านควนนกหว้า  
-  จำนวนหมู่บ้านในเขต  อบต.  เต็มพื้นที่   11  หมู่      
  ได้แก่  หมู่ที่  2 , 3 , 4  , 5 , 6 , 7  , 8 , 9 , 10  , 11 , 12    
   - จำนวนหมู่บ้านในเขต  อบต. บางส่วน  1 หมู่  ได้แก่  หมู่ที่   1    
ประชากร        
หมู่ที่ หมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร รวม
ชาย หญิง  
1 บ้านไสนา 1,250 828 891 1,719
2 บ้านโพธิ์บาย 426 621 614 1,235
3 บ้านสายกลาง 214 347 357 704
4 บ้านปลายสาย 152 227 233 460
5 บ้านไสขรบ 398 614 613 1,227
6 บ้านควนเจริญ 178 270 271 541
7 บ้านนูน 154 208 220 428
8 บ้านบางหยด 138 255 218 473
9 บ้านบ่อพระ 345 450 493 943
10 บ้านใหม่ 185 261 250 511
11 บ้านควนใหม่ 146 251 234 485
12 บ้านควนนกหว้า 170 190 187 377
  รวม 3,756 4,522 4,581 9,103
  ข้อมูลของวันที่ 11 เดือน เมษายน พ.ศ.2556  จากสำนักงานทะเบียนอำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี  

 

ที่มาข้อมูล จาก แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

สภาพเศรษฐกิจ
30 พฤศจิกายน 542

0


สภาพเศรษฐกิจ

ประชาชนส่วนใหญ่ในตำบลอิปัน  ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  เช่น ปาล์มน้ำมัน , ปลูกยางพารา ,   
สวนผลไม้ , ค้าขายและรับจ้างทั่วไป         
หน่วยธุรกิจในเขตตำบล                                                                                    
                        -  ธนาคาร         4   แห่ง
    - ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร   
    - ธนาคารไทยพาณิชย์      
    - ธนาคารกสิกรไทย      
    - ธนาคารออมสิน      
  -  โรงแรม/รีสอร์ท       2   แห่ง
    - โรงแรมจำเนียนอินทร์      
    - พระแสงรีสอร์ท      
  -  สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง       5   แห่ง
  -  โรงงานอุตสาหกรรม       1   แห่ง
             

      
ที่มาข้อมูล จาก แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 

สภาพทางสังคม
30 พฤศจิกายน 542

0


สภาพทางสังคม
 
การศึกษา
-   โรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5  แห่ง
    โรงเรียนบ้านไสขรบ หมู่ที่ 5
    โรงเรียนบ้านยูงทอง หมู่ที่ 2  
    โรงเรียนบ้านบ่อพระ หมู่ที่ 9
    โรงเรียนบ้านบางหยด หมู่ที่ 10
    โรงเรียนบ้านปลายสาย หมู่ที่ 11
 
-   โรงเรียนมัธยมศึกษา 1  แห่ง
    โรงเรียนพระแสงวิทยา    หมู่ที่  1
 
-   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.) 1  แห่ง
    ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสขรบ หมู่ที่ 5
-    ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 1 แห่ง
 
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพระแสง    หมู่ที่ 1
 -   โรงเรียนอนุบาล ( เอกชน )    1  แห่ง        
     โรงเรียนอนุบาลดวงใจแม่    หมู่ที่   1
(  ข้อมูลเดือนเมษายน  2556  จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี  เขต  3 )
 
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
     -   วัด / สำนักสงฆ์ 2  แห่ง
     -   วัดไสขรบ หมู่ที่  5
     -   วัดบางหยด หมู่ที่  10
 
สาธารณสุข  1  แห่ง
-   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไสขรบ หมู่ที่ 5   
 
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 1 แห่ง
-   สถานีตำรวจ / หน่วยบริการประชาชน      หมู่ที่  1  
 
การเกษตร 3 แห่ง
-   สำนักงานเกษตรอำเภอพระแสง หมู่ที่  1 
-   ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรตำบลอิปัน หมู่ที่ 1
-   สหกรณ์การเกษตรพระแสง   จำกัด    หมู่ที่ 1

 

ที่มาข้อมูล จาก แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
การบริการพื้นฐาน
30 พฤศจิกายน 542

0


การบริการพื้นฐาน  
 
การคมนาคมทางบก มีถนนลาดยางติดต่อระหว่างหมู่บ้าน อำเภอและจังหวัดซึ่งมีถนนทางหลวงสายหลัก   4   สายได้แก่  
  -   ทางหลวงหมายเลข  4009   ตอนพระแสง – เวียงสระ    ระยะทาง   ประมาณ     2   กิโลเมตร
  -   ทางหลวงหมายเลข  4035   ตอนพระแสง – อ่าวลึก       ระยะทาง   ประมาณ     2   กิโลเมตร                 
  -   ทางหลวงหมายเลข  4110   ตอนพระแสง – ทุ่งใหญ่      ระยะทาง  ประมาณ    2.5   กิโลเมตร
  -   ทางหลวงหมายเลข  4113   ตอนพระแสง เคียนซา        ระยะทาง   ประมาณ     8    กิโลเมตร
-   ถนนคอนกรีต    มีจำนวน    24 สาย
-   ถนนลูกรังเชื่อมต่อหมู่บ้าน  มีจำนวน  61 สาย
-   ถนนลาดยาง มีจำนวน  10 สาย
 
การโทรคมนาคม
-  สถานีโทรคมนาคมอื่น  ๆ  1 แห่ง  ได้แก่  องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย  อำเภอพระแสง
-  เสาสัญญาณโทรศัพท์ ระบบ ทรูมูฟ
-  เสาสัญญาณโทรศัพท์ ระบบ ดีแทค
-  เสาสัญญาณโทรศัพท์  ระบบ จีเอสเอ็ม
 
การไฟฟ้า 
 - มีไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทุกหมู่บ้านและติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะ/สัญญาณไฟจราจร 
 
แหล่งน้ำธรรมชาติ
  -   แม่น้ำ  1 สาย    ได้แก่    แม่น้ำตาปี
  -   คลอง 4 สาย ได้แก่ คลองอิปัน ,คลองเหียน ,คลองบอด,คลองปลายสาย
  -   ลำห้วย 12 สาย ได้แก่ 
           1.  ลำห้วยต้นไทร ตั้งอยู่หมู่ที่ 1
           2.  ลำห้วยบางแม่ปลา ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 , 6
           3.  ลำห้วยหว้า ตั้งอยู่หมู่ที่ 2
           4.  ลำห้วยบางไคร ตั้งอยู่หมู่ที่ 8
           5.  ลำห้วยพรุเทา ตั้งอยู่หมู่ที่ 8
           6.  ลำห้วยคลองบอด ตั้งอยู่หมู่ที่ 8
           7.  ลำห้วยบางกดมา ตั้งอยู่หมู่ที่ 10
           8.  ลำห้วยรา ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ,10   
           9.  ลำห้วยพรุพี ตั้งอยู่หมู่ที่ 12
           10.  ลำห้วยบางไฟไหม้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 5  ,  12
           11.  ลำห้วยขุดลอก ตั้งอยู่หมู่ที่ 8
           12.  ลำห้วยนายเปื่ยม ตั้งอยู่หมู่ที่ 9
 
-  บึง , หนอง และอื่น  ๆ   21   แห่ง (ข้อมูลแหล่งน้ำเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ์และโครงการขุดลอก)
             1.  หนองหญ้าปล้อง ตั้งอยู่หมู่ที่  1 มีเนื้อที่    30 ไร่
             2.  หนองลำพัน    ตั้งอยู่หมู่ที่  2 มีเนื้อที่    30 ไร่
             3.  หนองหานเหลา ตั้งอยู่หมู่ที่  2 มีเนื้อที่    30 ไร่
             4.  หนองผูกเปล  ตั้งอยู่หมู่ที่  4,7 มีเนื้อที่    10 ไร่
             5.  หนองปาบ ตั้งอยู่หมู่ที่  7 มีเนื้อที่    30 ไร่
             6.  หนองป้าทอง  ตั้งอยู่หมู่ที่  7 มีเนื้อที่    2 ไร่
             7.  หนองฟันโพรง ตั้งอยู่หมู่ที่  1 มีเนื้อที่    22 ไร่
             8.  บอดลุงคล้อย ตั้งอยู่หมู่ที่  2 มีเนื้อที่    5 ไร่
             9.  บอดทุ้ง ตั้งอยู่หมู่ที่  2 มีเนื้อที่    10 ไร่
             10.  หานอุโบสถ    ตั้งอยู่หมู่ที่  4,5,7 มีเนื้อที่ 137 ไร่ 2 งาน
             11.  หานนอก      ตั้งอยู่หมู่ที่  7 มีเนื้อที่ 48 ไร่
             12.  หานกุน      ตั้งอยู่หมู่ที่  7 มีเนื้อที่    3 ไร่
             13.  หานหยอย    ตั้งอยู่หมู่ที่  10 มีเนื้อที่  15 ไร่ 2 งาน
             14.  หานทับกลอย ตั้งอยู่หมู่ที่  3 มีเนื้อที่ 7 ไร่
             15.  หนองสองเมือง ตั้งอยู่หมู่ที่  6 มีเนื้อที่7 7 ไร่
             16.  หนองคูขุด    ตั้งอยู่หมู่ที่  6 มีเนื้อที่    5 ไร่
             17.  หนองหานทราย ตั้งอยู่หมู่ที่  5 มีเนื้อที่    35 ไร่
             18.  หนองบางพรก ตั้งอยู่หมู่ที่  5 มีเนื้อที่    5 ไร่
             19.  หนองไม้แกน  ตั้งอยู่หมู่ที่  5 มีเนื้อที่    5 ไร่
             20.  หนองบัว      ตั้งอยู่หมู่ที่  4 มีเนื้อที่    5 ไร่
             21.  หานพ่วง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 มีเนื้อที่ 40 ไร่
 
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
-   ฝาย 5 ฝาย
-   บ่อน้ำตื้น 14 บ่อ
-   บ่อโยก 9 บ่อ
-   สระเก็บน้ำ 10 สระ
-   ประปาหมู่บ้าน 14 แห่ง
 
 
ที่มาข้อมูล จาก แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ข้อมูลอื่น ๆ
30 พฤศจิกายน 542

0


ข้อมูลอื่น ๆ
 
  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
-  ทรัพยากรดิน มีลักษณะเป็นดินเหนียว  และดินลูกรัง  ดินร่วนปนดินทรายแห้ง  เหมาะสำหรับทำสวนยางพารา , ปาล์มน้ำมัน และปลูกพืชไร่  
-   ทรัพยากรป่าไม้   มีป่าเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่หมู่ที่ 11  มีเนื้อที่ประมาณ  117   ไร่
-   ที่ดินสาธารณประโยชน์ 
-   ที่สาธารณประโยชน์ทุ่งบางด้วน   ตั้งอยู่ที่หมู่ที่   4   มีเนื้อที่ประมาณ   35   ไร่
-   ที่สาธารณประโยชน์  ( โรงเรียนเก่า  )  ตั้งอยู่หมู่ที่   4   มีเนื้อที่ประมาณ  12   ไร่
 
มวลชนจัดตั้ง
  -  ลูกเสือชาวบ้าน 3  รุ่น    จำนวน  511 คน
  -  ไทยอาสาป้องกันชาติ    3  รุ่น  จำนวน  500 คน
  -  อส.ปปส.     1  รุ่น จำนวน    300 คน
  -  อปพร. 3  รุ่น จำนวน 154 คน
 
 
ที่มาข้อมูล จาก แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศักยภาพในตำบล
30 พฤศจิกายน 542

0


ศักยภาพในตำบล ก. ข้อมูลศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน

(1). จำนวนบุคลากร รวมทั้งหมด 31 คน แบ่งเป็น

(1). จำนวนบุคลากร  รวมทั้งหมด   31    คน  แบ่งเป็น   
   หน่วยงาน ประเภทบุคลากร รวม
  พนักงานส่วนตำบล พนักงานจ้างตามภารกิจ พนักงานจ้างทั่วไป
สำนักงานปลัด 9 5 8 22
ส่วนการคลัง 5 2     - 7
ส่วนโยธา 2        -     - 2
รวม 16 7 8 31
(2). ระดับการศึกษาของบุคลากร    
หน่วยงาน ระดับการศึกษา   รวม
ไม่ได้รับการศึกษา ประถมศึกษา ปวส. มัธยมศึกษาตอนต้น ปริญญาตรี ปริญญาโท
สำนักงานปลัด 1 4 1 2 13 1 22
ส่วนการคลัง - - - - 7 - 7
ส่วนโยธา - - 1 - 1 - 2
รวม 1 4 2 2 21 1 31

ตามประกาศกำหนด โครงสร้างส่วนราชการด้านใน  ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน ได้กำหนดการส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตำบลออกไว้   3   ส่วน ดังนี้

2.1 สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น     4     งาน ดังนี้
-  งานบริหารงานบุคคล
  -  งานนโยบายและแผน
  -  งานกฎหมายและคดี
  -  งานรักษาความสะอาด
2.2 ส่วนการคลัง โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น    3    งาน ดังนี้
  -  งานการเงินและบัญชี
  -  งานพัสดุ
  -  งานจัดเก็บรายได้
2.3 ส่วนโยธา โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น      3    งาน ดังนี้ 
  -  งานก่อสร้างและบูรณะถนน
  -  งานไฟฟ้าสาธารณะ
  -  งานควบคุมการก่อสร้าง
 
กำหนดอัตรากำลังตามแผนอัตรากำลังพนักงานส่วนตำบล  3   ปี และแผนอัตรากำลังพนักงานจ้าง 4 ปี ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปันไว้ดังนี้   
-  พนักงานส่วนตำบล จำนวน 21 อัตรา
-  ลูกจ้าง จำนวน   - อัตรา
-  พนักงานจ้าง  จำนวน 18 อัตรา
(3). รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล
-  ประจำปีงบประมาณ   2555              24,338,700  บาท    แยกเป็น
-  รายได้ที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเก็บเอง               1,291,600.00  บาท
-   รายได้ที่ส่วนราชการต่าง ๆ จัดเก็บให้                    14,847,100.00  บาท
-   เงินอุดหนุนรัฐบาล         8,200,000.00  บาท      
๏    ข้อมูลประมาณการจาก ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ  พ.ศ.2555
ข้อมูลสถิติการคลังขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน  3  ปี   งบประมาณที่ผ่านมา    
รายการ ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 หมายเหตุ
รายจ่าย   (จริง) 19,458,190.20 17,660,287.58 - ปีงบประมาณ 2556 ไม่สามารถแจกแจงรายรับ-รายจ่ายได้  เพราะยังไม่สิ้นปีงบประมาณ
รายรับ    (จริง) 25,992,322.51 30,068,680.80 -
ประมาณรายจ่าย 23,950,000.00 24,338,500.00 29,783,300.00
ประมาณรายรับ 23,950,000.00 24,338,700.00 29,783,300.00
       
ข.  ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่      
(1). การรวมกลุ่มของประชาชน      
-  จำนวนกลุ่มทุกประเภท 57 กลุ่ม     แยกเป็น  
-  กลุ่มอาชีพ     30         กลุ่ม  
-  กลุ่มออมทรัพย์     12         กลุ่ม  
-  กลุ่มอื่น ๆ     15         กลุ่ม  

 

ที่มาข้อมูล จาก แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2557-2559) ขององค์การบริหารส่วนตำบลอิปัน อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี